หน่วย
SI
ประเทศ (International System of Units) หรือ ระบบเอสไอ (SI)
คือ ระบบหน่วยมาตรฐานที่องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO
หรือ International Organization for Standardization) กำหนดขึ้นให้ทุกประเทศใช้เป็นมาตรฐาน เพื่อให้การใช้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก
โดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์
มวล Kilogram kg.
ความยาว Meter m.
อุณหภูมิ Kelvin K. เคลวินสำหรับวัดอุณหภูมิอุณหพลวัติ
ปริมาณของสาร Mole mol.
เวลา Second s.
ปริมาตรของสาร Ampere A.
ความเข้มของแสง Candles Cd.
ค่าอุปสรรคที่ใช้ในหน่วย
SI
Giga 109 G
Mega 106 M
Kilo 103 K
Hector 102 H
Deca 101 da
Deci 10-1 d
Centi 10-2 c
Milli 10-3 m
Micro 10-6 u
Nano 10-9 N
Angstrom 10-10 A0
Pico 10-12 P
ตาราง SI
Note การเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นอยู่กับปริมาณเรียกว่า
Extensive
การเปลี่ยนแปลงคงที่เรียกว่า Intensive เช่น
ความหนาแน่น อุณหภูมิ
Note
มวลเป็นสมบัติทางฟิสิกส์
วัดปริมาณของสารในวัตถุน้ำหนักจะเป็นการวัดแรงดึงของแรงโน้มถ่วงโลกต่อวัตถุ
มวลจึงไม่ขึ้นกับสถานที่
แต่น้ำหนักจะขึ้นอยู่กับสถานที่
Note 1 lb (ปอนด์) = 453.6
g.
เปลี่ยนจากปอนด์เป็นกรัม = ปอนด์ x 453.6 g
เปลี่ยนจากปอนด์เป็นกิโลกรัม = ปอนด์ x 453.6
g / 1000 g
เปลี่ยนจากกรัมเป็นปอนด์ = กรัม / 453.6 g.
ธาตุหมู่เดียวกัน ->
Valence อิเล็กตรอน จำนวนอิเล็กตรอนวงนอกสุด เหมือนกัน
ธาตุในคาบเดียวกัน -> ระดับชั้นพลังงานจะเท่ากัน