แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ โครงสร้างอะตอม แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ โครงสร้างอะตอม แสดงบทความทั้งหมด

วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

โครงสร้างอะตอม

โครงสร้างอะตอม



มวลของอิเล็กตรอน              9.1 x 10-28 g. ประจุเป็น –

มวลของโปรตอน                   1.67 x10-24 g. ประจุเป็น +

มวลของนิวตรอน                  1.67 x10-24 g. เป็นกลาง


Note       p+           มีมวล      =             1              **โปรตอนมีเท่าไรอิเล็กตรอนมีเท่านั้น

                n              มีมวล      =             1             

                e-            มีมวล       =              1/1800
          มวลอะตอม              =             p+ + n
เลขอะตอม              =             p+
 
 

ผู้ค้นพบอิเล็กตรอนคือ    Sir Joseph John Thompson          เป็นนักฟิสิกส์
-          อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม
-          อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด    แต่อะตอมจะประกอบด้วยอิเล็กตรอน  และอนุภาคอื่นๆอีก
-          อะตอมประกอบด้วยอนุภาคอิเล็กตรอนที่มีประจุเป็นลบ    อนุภาคโปรตอนมีประจุเป็นบวก
-          อะตอมจะมีโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่ำเสมอ
-          อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า   เพราะ มีจำนวนประจุบวกเท่ากับประจุลบ
ผู้ค้นพบโปรตอนคือ        Ernest Rutherford
-          โปรตอนพื้นที่ส่วนใหญ่ว่าง มีขนาดเล็ก มีความหนาแน่นมาก มีประจุบวก
-          นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมากและมีประจุเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ และมีมวลน้อยมาก จะวิ่งอยู่รอบนิวเคลียสเป็นบริเวณกว้าง
ผู้คนพบนิวตรอนคือ        James Chadwick


  • รังสีแอลฟาจากพอโลเนียมที่ ระดมยิงเข้าไปชนกับนิวเคลียสของเบริลเลียม ทำให้เกิดการแปรธาตุเป็น คาร์บอนและปล่อยนิวตรอนออกมา 1 อนุภาคต่อการชนแต่ละครั้ง และเมื่อนิวตรอนนี้ผ่านเข้าไปในพาราฟิน ก็จะเข้าไป กระแทกนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจนให้กระเด็นออกมาเป็นโปรตอนอิสระ การกระแทกนี้เป็นในทำนองเดียวกับการแทง ลูกบอลสนุกเกอร์สีขาวไปกระแทกลูกแดง ให้กระเด็นไปได้โดยลูกขาวหยุดนิ่งแทนตำแหน่งลูกแดง