แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สารละลาย แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สารละลาย แสดงบทความทั้งหมด

วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ของเหลวและสารละลาย



ของเหลวและสารละลาย
สถานะของสาร มี 3 สถานะ
1.       ของแข็ง
2.       ของเหลว
3.       ก๊าซ
สถานะของสารเกิดจากการเรียงตัวของโมเลกุล
1.       Intermolecular force แรงกระทำระหว่างโมเลกุล
1.1                แรงแวนเดอร์วาวล์
1.2                แรงขั้วคู่ – ขั้วคู่
1.3                แรงพันธะไฮโดรเจน
2.       Intra-molecular force แรงกระทำภายในโมเลกุล =พันธะเคมี
1.1                พันธะไอออนิค
1.2                พันธะโควาเลนต์
1.3                พันธะโลหะ

Note      
1.                   อุณหภูมิสูงแรงดึงดูดต่ำ
2.                   อุณหภูมิต่ำแรงดึงดูดพลังงานสูง (พลงังงานจลน์น้อย)
3.                   อุณหภูมิสูงแรงตึงผิวต่ำ
4.                   น้ำมี Adhesive > cohesive ทำให้เกิดปรากฎการณ์กระทะหงาย
5.                   น้ำชอบเกาะขอบแก้ว
6.                   ยิ่งสูงจุดเดือดยิ่งลดลง
7.                   แรงดึงดูดโมเลกุลมากจุดเดือดสูง
8.                   แรงดึงดูดโมเลกุลน้อยจุดเดือดต่ำ
9.                   จุดเดือดต่ำความดันไอสูง
10.                จุดเดือดสูงความดันได้ต่ำ
11.                จุดเดือดปกติของ ๆ เหลว คือจุดเดือดเมื่อความดันภายนอกเท่ากัน
12.                1  atm  = 760  mmHg

Note       ผลของแรงตึงผิวขึ้นอยู่กับ
1.       แรงดึงระหว่างโมเลกุล
2.       อุณหภูมิ


 

สารละลาย
แยกเป็น
1.       ตัวทำละลาย
2.       ตัวถูกละลาย
Note       ตัวไหนมากกว่าเรียกตัวทำละลาย
สารละลายแบ่งได้ 3 สถานะ
1.       สารละลายแก๊ส
2.       สารละลายในของเหลว
3.       สารละลายของแข็ง
หน่วยความเข้มข้น
1.       ร้อยของตัวถูกละลาย
1.1.  ร้อยโดยมวลหรือน้ำน้ำหนัก         (% w/w)
1.2.  ร้อยโดยปริมาตร           (% v/v )
1.3.  ร้อยละโดยมวล / ปริมาตร (% w/v)
2.       ส่วนในล้านส่วน ( Part per million ; ppm)
3.       เศษส่วนโมล
 

      





1.       ร้อยละโดยมวล (%w/w) คือปริมาณของตัวถูกละลายในมวลของสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน

 2.       ร้อยละโดยปริมาตร (%v/v) คือปริมาตรของตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 100หน่วยปริมาตรเดียวกัน






Note  สารละลาย Eternal  เข้มข้น 10 % โดยปริมาตร หมายถึง Eternal 10 cm3 ละลายอยู่ในสารละลาย 100 cm3

3.       ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (%w/v) คือตัวถูกละลายในปริมาณของสารละลาย 100 หน่วยปริมาตร หน่วยมวลและหน่วยปริมาตรต้องให้สอดคล้องกัน
 
Note ถ้าชั่งมวลเป็นกรัม ปริมาตรต้องเป็นมิลลิกรัม, ชั่งเป็นกิโลกรัม ปริมาตรต้องเป็นลิตร





4.       ส่วนในล้านส่วน ( Part per million ; ppm) 
5.       โมลาริติ หรือ โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (mol/dm3 หรือ mol(ทำละลาย)/l(ถูกละลาย))เป็นหน่วยที่บอกจำนวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย l/dm3 หน่วยความเข้มข้นเป็น mol/dm3 อาจเรียกย่อได้เป็น โมลาร์ (Molar) ใช้สัญลักษณ์ M





Note       Molar คือหน่วยความเข้มข้น

6.       โมแลลิติ หรือโมลต่อกิโลกรัม (mol/kg) เป็นหน่วยที่บอกจำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายในตัวทำละลาย 1 กิโลกรัมจึงมีหน่วยเป็น mol/kg หรือเรียกโมแลล (Molal) ใช้สัญลักษณ์ m